กายภาพบำบัด นครปฐม
ตรวจ วินิจฉัย บำบัดรักษา
ด้วยเทคนิค และเครื่องมือทางกายภาพบำบัด
ไอ แอม คลินิกกายภาพบำบัด จ.พะเยา
เข้าใจปัญหา รักษาตรงจุด
I AM PHYSIO กายภาพบำบัด พะเยา
รักษาตรงจุด ตรวจก่อนรักษาฟรี !!!
ㆍออฟฟิศซินโดรม
ㆍปวดคอ ปวดหลัง ปวดสะบัก
ㆍบาดเจ็บจากการกีฬา
ㆍหมอนรองกระดูกทับเส้น
ㆍเข่าเสื่อม ไหล่ติด รองช้ำ
ㆍกระดูกสันหลังคด
ㆍอัมพฤกษ์ อัมพาต อ่อนแรง
ㆍนิ้วล้อค , พังผืดรัดเส้นประสาท
กญ.ชญาพิชญ์ พวงมาลัย
นักกายภาพบำบัด
ผู้เชี่ยวชาญ นักกายภาพบำบัด ที่มีประสบการณ์ มามากกว่า 7 ปี เชี่ยวชาญทางด้าน กายภาพบำบัดทางด้านการกีฬาและผู้ป่วยที่ต้องการ นักกายภาพบำบัดดูแลและฟื้นฟู
รายละเอียดการรักษา :
เริ่มต้นการรักษาด้วยการตรวจร่างกายอย่างละเอียดเพื่อวิเคราะห์อาการของคนไข้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร แล้วจะทำการรักษาแก้ไขที่ “ต้นเหตุ” ของอาการนั้น ๆ โดยไม่ต้องใช้ยา ฉีดยา หรือผ่าตัด
ถัดจากนั้นเราจะใช้วิธีการรักษาทางกายภาพบำบัด เช่น การใช้คลื่นเสียงความถี่สูง(Ultrasound Therapy) เพื่อลดอาการปวด , การใช้คลื่นกระแทก(Shock Wave) เพื่อกระตุ้นการซ่อมแซม , การใช้เลเซอร์กำลังสูง(High Power Laser) เพื่อลดการอักเสบ , การใช้เครื่องความร้อนลึกเพื่อคลายกล้ามเนื้อ , การใช้ไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นกล้ามเนื้อที่ไม่แข็งแรง และใช้เครื่องมือทางกายภาพบำบัดอื่น ๆ อีกมากมาย ออกแบบให้ตรงตามความเหมาะสมต่อคนไข้แต่ละท่าน
โรคออฟฟิศซินโดรม
(Office Syndrome)
อาการของโรคออฟฟิศซินโดรม
- ปวดหลัง : โดยเฉพาะในบริเวณหลังส่วนล่างและหลังส่วนกลาง ซึ่งมักเกิดจากการนั่งทำงานในท่าทางที่ไม่ถูกต้อง
- ปวดคอและไหล่ : อาจรู้สึกตึงหรือปวดในบริเวณคอและไหล่จากการนั่งทำงานที่โต๊ะคอมพิวเตอร์นานๆ
- ปวดข้อมือและนิ้วมือ : การพิมพ์หรือใช้งานเมาส์อย่างต่อเนื่องอาจทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับข้อมือและนิ้วมือ
- อาการปวดตา : การจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจทำให้เกิดอาการตาแห้งหรือปวดตา
- ปวดศีรษะ : อาจเกิดจากความเครียดหรือความตึงเครียดที่เกิดจากท่าทางการทำงาน
สาเหตุของโรคออฟฟิศซินโดรม
- ท่าทางการนั่งที่ไม่ถูกต้อง : นั่งทำงานในท่าที่ไม่เหมาะสม เช่น นั่งเก้าอี้ที่ไม่เหมาะสมหรือการนั่งทำงานที่โต๊ะคอมพิวเตอร์ที่ไม่ถูกต้อง
- การนั่งทำงานเป็นเวลานาน : การนั่งทำงานโดยไม่ขยับตัวหรือไม่พักสายตา
- การใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เทคโนโลยีเป็นเวลานาน : การพิมพ์หรือใช้งานเมาส์เป็นเวลานานโดยไม่มีการพัก
- สภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสม : เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ หรืออากาศไม่ดี
วิธีการป้องกันและรักษา ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome)
การรักษาด้วยตัวเอง
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น ไม่ควรนั่งติดกันเป็นเวลานาน ปรับเปลี่ยนท่านั่งให้เหมาะสม
- การยืดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่น
- การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง
การรักษาทางกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยเครื่องมือทางกายภาพบำบัด เช่น
- อัลตร้าซาวด์ (Ultrasound)
- การกระตุ้นไฟฟ้า (Electrical stimulation)
- เลเซอร์ (Laser)
- คลื่นกระแทก (Shock wave)
- คลื่นสั้น (Short wave)
กญ.ชญาพิชญ์ พวงมาลัย
นักกายภาพบำบัด
ผู้เชี่ยวชาญ นักกายภาพบำบัด ที่มีประสบการณ์ มามากกว่า 7 ปี เชี่ยวชาญทางด้าน กายภาพบำบัดทางด้านการกีฬาและผู้ป่วยที่ต้องการ นักกายภาพบำบัดดูแลและฟื้นฟู
รายละเอียดการรักษา :
เริ่มต้นการรักษาด้วยการตรวจร่างกายอย่างละเอียดเพื่อวิเคราะห์อาการของคนไข้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร แล้วจะทำการรักษาแก้ไขที่ “ต้นเหตุ” ของอาการนั้น ๆ โดยไม่ต้องใช้ยา ฉีดยา หรือผ่าตัด
ถัดจากนั้นเราจะใช้วิธีการรักษาทางกายภาพบำบัด เช่น การใช้คลื่นเสียงความถี่สูง(Ultrasound Therapy) เพื่อลดอาการปวด , การใช้คลื่นกระแทก(Shock Wave) เพื่อกระตุ้นการซ่อมแซม , การใช้เลเซอร์กำลังสูง(High Power Laser) เพื่อลดการอักเสบ , การใช้เครื่องความร้อนลึกเพื่อคลายกล้ามเนื้อ , การใช้ไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นกล้ามเนื้อที่ไม่แข็งแรง และใช้เครื่องมือทางกายภาพบำบัดอื่น ๆ อีกมากมาย ออกแบบให้ตรงตามความเหมาะสมต่อคนไข้แต่ละท่าน
ออฟฟิศซินโดรม
ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) คือ กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด (Myofascial Pain Syndrome)
เนื่องมาจากรูปแบบการทำงานที่ใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ำๆ เป็นระยะเวลานานต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้อ
อักเสบและปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณ คอ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ซึ่งอาการปวดดังกล่าวอาจ
ลุกลามจนกลายเป็นอาการปวดเรื้อรัง
สาเหตุของการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรม
- โดยส่วนมากอาการปวดกล้ามเนื้อจากโรค
- ออฟฟิศซินโดรม มักพบได้บ่อยในคนทำงาน
- ออฟฟิศเป็นหลัก นั่นเพราะพฤติกรรมการทำงาน
- ที่ต้องนั่นจดจ่ออยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็น
- เวลานานจนลืมตัว โดยแทบจะไม่มีการขยับตัว
- ปรับเปลี่ยนอิริยาบถใด ๆ หรือลุกขึ้นเดินไปไหน
- มาไหนเลย ซึ่งนี่เป็นผลทำให้กล้ามเนื้อมัดต่าง ๆ
- เกิดอาการยึดเกร็งและอักเสบในเวลาต่อมา
พฤติกรรมเสี่ยงเป็นออฟฟิศซินโดรม
ทำกิจกรรมหรือทำงานลักษณะเดิม ๆ ต่อเนื่อง อย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน เช่น
- พนักงานออฟฟิศ ที่นั่งจ้องจอคอมพิวเตอร์ทั้งวัน ไม่ค่อยลุกไปไหน
- พนักงานขาย ที่ต้องยืนขายตลอดทั้งวัน (โดยเฉพาะพนักงานที่ต้องใส่รองเท้าส้นสูง)
- พนักงานขับรถ ที่ต้องนั่งขับรถอยู่เป็นเวลานาน ๆ
- อาการปวดร้าวไปยังส่วนต่าง ๆ เช่น ปวดร้าวขึ้นศีรษะ ปวดร้าวไปที่ไหล่หรือแขน ปวดร้าวลงขา
- ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกายหรือไม่ค่อยได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
- ทำงานที่ต้องใช้แรงเป็นประจำ เช่น งานแบกหาม งานลาก ยก หรือเข็นวัสดุสิ่งของ
กลุ่มที่เสี่ยงเป็นออฟฟิศซินโดรม
- คนทำงานในออฟฟิศ คนกลุ่มนี้แม้ว่าจะไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกายมากมาย
- จนเหมือนว่าจะไม่ได้ใช้กล้ามเนื้อ แต่การนั่ง ยืน หรือค้างอยู่ในท่า ๆ หนึ่ง
- นานเกินไป เช่น การก้มหน้าใช้งานมือถือ นั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์
- นาน ๆ ก็ส่งผลให้กล้ามเนื้อมัดที่ใช้ในอิริยาบถนั้น ๆ เกิดอาการตึงและ
- ปวด
- ผู้ใช้แรงงานเป็นประจำหรือนักกีฬา เกิดจากการเคลื่อนไหวที่ไม่เหมาะสม
- เช่น การยกของผิดท่า การกระชากกล้ามเนื้อเร็วเกินไป การออกแรงมาก
- เกินไป หรือต้องแบกของที่มีน้ำหนักมากเกินไป ทำให้กล้ามเนื้อหรือ
- กระดูกได้รับบาดเจ็บเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
อาการแบบไหนที่เข้าข่ายผู้ป่วยเป็นโรคออฟฟิศซินโดรม
- เกิดการปวดกล้ามเนื้อเฉพาะส่วน โดยคุณไม่สามารถระบุตำแหน่งได้อย่างชัดเจน ตรงบริเวณคอ บ่า ไหล่ และสะบัก
- มีอาการปวดวิงเวียนศีรษะเรื้อรัง หรือในบางคนอาจมีอาการปวดหัวไมเกรนร่วมด้วย ซึ่งสาเหตุเกิดจากความเครียดและการ
- ใช้สายตาจดจ่อบนหน้าจอคอมพิวเตอร์มากเกินไปเป็นระยะเวลานาน
- ปวดหลัง เนื่องจากต้องนั่งทำงานอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันนานหลายชั่วโมง อีกทั้งวิธีท่านั่งก็ไม่ถูกสรีระซะทีเดียว
- โดยผู้มีอาการมักนั่งหลังค่อม ซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้อต้นคอเมื่อยล้าและยึดเกร็งอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ยังรวมไปถึงผู้หญิงที่ใส่
- ส้นสูงยืนทำงานในออฟฟิศเป็นเวลานาน ก็อาจทำให้มีอาการปวดหลังจากโรคออฟฟิศซินโดรมได้เช่นเดียวกัน
- มีอาการปวดหรือเกิดเหน็บชาบริเวณขาลงมา ซึ่งสาเหตุมาจากการนั่งในท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน จนทำให้เส้นเลือดดำถูกกด
- ทับและการไหลเวียนของเลือดมีความผิดปกติ